Ferguson’s Formula – เรียนรู้สูตรความสำเร็จของเฟอร์กูสัน


โพสต์เมื่อ: 30 พ.ค 2563 เวลา 15:35:29 น. อ่าน: 1,050 ครั้ง
Ferguson’s Formula – เรียนรู้สูตรความสำเร็จของเฟอร์กูสัน

ในแวดวงกีฬาบุตบอล คงไม่มีใครไม่รู้จักผู้ชายที่ชื่อว่า Sir Alex Ferguson
ผู้ที่นำความสำเร็จมาสู่ทีมสโมสร Manchester United มาอย่างยาวนาน

 

ชีวิต แนวคิด วิธีบริหารจัดการของ Ferguson เป็นที่น่าสนใจเรียนรู้เป็นอย่างมาก ทำอย่างไรถึงทำให้ทีมธรรมดาๆในสมัยที่ Ferguson เริ่มเข้ามาเป็นผู้จัดการทีมสามารถก้าวขึ้นมาเป็นทีมอันดับ 1 ของเกาะอังกฤษ และเป็นสโมสรแนวหน้าของโลกได้

Harvard Busniess School ได้เข้าไปสัมพาษณ์และทำวิจัย และออกมาเป็นบทความให้เราได้อ่านกันว่า สูตรความสำเร็จของ Ferguson คืออะไร

ใครสนใจอ่านบทความแบบเต็มๆกดตาม link นี้ได้เลยครับ
http://hbr.org/2013/10/fergusons-formula/ar/1

ผมขอเล่าบางส่วนที่สำคัญและน่าสนใจจากบทความนี้

บางคนบอกว่าเขาคือโค้ชที่ยอดเยียมที่สุดในประวัติศาสตร์
Some call him the greatest coach in history

ก่อนที่เขาจะเกษียณตัวเองในเดือน พฤษภาคม 2013 Sir Alex Ferguson เป็นผู้จัดการทีม Manchester United ถึง 26 ฤดูกาล ทำทีมได้แชมป์ลีคสูงสุดของอังกฤษ 13 ครั้ง และชนะอีก 25 รายการ ทั้งในอังกฤษและนอกอังกฤษ

นอกจากนั้นเขายังเป็นมากกว่าโค้ช  เขายังเป็นส่วนหนึ่งของศูนย์กลางองค์กร เขาบริหารจัดการไม่เพียงแต่ทีมชุดแรกเท่านั้น แต่เค้ายังบริหารจัดการทั้งสโมสรอีกด้วย
David Gill ได้กล่าวไว้ว่า ถ้าเปรียบ Steve Jobs คือ Apple, Sir Alex Ferguson ก็คือ Mancherster United
And Ferguson was far more than a coach. He played a central role in the United organization, managing not just the first team but the entire club. “Steve Jobs was Apple; Sir Alex Ferguson is Manchester United,” says the club’s former chief executive David Gill.

Anita Elberse ได้ไปค้นหาและสัมพาษณ์ เกี่ยวกับความสำเร็จและมีพลังอยู่เสมอของ Sir Alex Ferguson โดย Ferguson และ Anita ได้พูดคุยถึง 8 บทเรียนสำคัญที่นำมาจากประสปการณ์ตรงในการทำงานของ Ferguson

เรามาเรียนรู้สูตรความสำเร็จของ Sir Alex Ferguson กันครับ

 

Ferguson’s Formula

1. Start with the Foundation – เริ่มต้นจากพื้นฐาน

หลังจาก Ferguson รับตำแหน่งที่ Mancherster ในปี 1986 เขาได้มองถึงการสร้างโครงสร้างระยะยาวของทีมเยาวชนของสโมสร เขาได้สร้างศูนย์เยาวชนขึ้นมา 2 แห่ง เพื่อพัฒนาแข่งเยาวชนเหล่านี้ขึ้นมาสู่ทีมชุดใหญ่ และเพิ่มแมวมองของทีมเพื่อดึงนักตะหนุ่มที่มีพรสวรรค์เข้าสู่ทีม
He established two “centers of excellence” for promising players as young as nine and recruited a number of scouts, urging them to bring him the top young talent.

โดยตัวอย่างของนักเตะที่รู้จักและโด่งดังจากศูนย์เยาวชนที่ Ferguson ลงทุนลงแรงไปนี้ คือ David Beckham, Ryan Giggs, Paul Scholes และ Gary Neville เป็นต้น และพวกเขาทั้งหมดก็กลายมาเป็นกำลังสำคัญของ Ferguson ในทีมที่ยิ่งใหญ่ในช่วง ปีทศวรรษ 1990s และต้น 2000s

Ferguson ได้กล่าวถึงความแตกต่างระหว่างการสร้างทีมซึ่งผู้จัดการทีมส่วนมากจะมุ่งไป กับการสร้างสโมสร
He talks about the difference between building a team, which is what most managers concentrate on, and building a club.

เข้าได้กล่าวต่ออีกว่า จากจุดที่เริ่มต้นกับ United เขาคิดอยู่สิ่งเดียวคือ สร้างสโมสรฟุตบอล เขาต้องการสร้างจากฐานรากของสโมสร ซึ่งมันจะเป็นฐานกำลังที่สำคัญกับทีมชุดใหญ่ จาก approach นี้เองทำให้นักเตะเติบโตมาด้วยกัน สร้างความผูกพัน และสร้างทีม Spirit ที่แข็งแกร่งขึ้นมา
From the moment I got to Manchester United, I thought of only one thing: building a football club. I wanted to build right from the bottom

2. Dare to Rebuild Your Team – กล้าที่จะสร้างทีมใหม่อย่างชาญฉลาด

แม้ว่าในช่วงที่ประสปความสำเร็จเป็นอย่างมาก Ferguson ก็ยังทำงานที่จะปรับเปลี่ยนและสร้างทีมใหม่ เขาไม่ได้ยึดติดกับความสำเร็จที่ได้แขมป์ถึง 5 ครั้งในเวลานั้น การตัดสินใจของเขาอยู่บนพื้นฐานที่ชาญฉลาดเป็นอย่างมากในการเข้าใจทีมของตน และเข้าใจถึงวงจรนักเตะ เขารู้ว่าจะหานักตะประเภทไหนที่จะนำความสำเร็จมาสู่ทีม Ryan Giggs กล่าวว่า เขาไม่ได้มองแค่เฉพาะในเวลานั้น แต่เขามองถึงอนาคตเสมอ
“He’s never really looking at this moment, he’s always looking into the future,” Ryan Giggs told us. “Knowing what needs strengthening and what needs refreshing—he’s got that knack.”

จากสถิติในช่วงนั้น Manchester United ได้แชมป์พรัเมียร์ลีค 5 ครั้ง โดยใช้เงินซื้อนักเตะใหม่น้อยกว่าเมื่อเทียบกับคู่แข่งที่สำคัญอย่าง Chelsea, Mancherster City และ Liverpool  ซึ่งเหตุผลหนึ่งก็มาจากทีมเยาวชนของสโมสรที่มีความแข็งแกร่งและ มีประสิทธิภาพ
In the past decade, during which Manchester United won the English league five times, the club spent less on incoming transfers than its rivals Chelsea, Manchester City, and Liverpool did. One reason was a continued commitment to young players.

3. Set High Standards—and Hold Everyone to Them – ตั้งมาตรฐานให้สูงและให้ทุกคนยึดถือ

Ferguson กล่าวว่า เขาต้องการปลูกฝังค่าในนักเตะ มากกว่าจะให้ technical skill เขาต้องการกระตุ้นเหล่านักเตะให้ต่อสู้และไม่ยอมแพ้อยู่เสมอ หรือกล่าวได้ว่าทำให้นักเตะเป็นผู้ชนะ
Ferguson speaks passionately about wanting to instill values in his players. More than giving them technical skills, he wanted to inspire them to strive to do better and to never give up—in other words, to make them winners.

Ferguson พยายามหาหานักตะที่มีทัศนคติเหมือนตน คือ เป็นผู้แพ้ที่ยาก (bad losers) และมีความต้องการที่จะทำงานอย่างหนัก ตลอดระยะเวลาผ่านมาจากทัศนคติก็กลายมาเป็นค่านิยมของสโมสร ที่ไม่ว่าใครก็ซึมซับและปฏิบัติตาม
Ferguson looked for the same attitude in his players. He recruited what he calls “bad losers” and demanded that they work extremely hard. Over the years this attitude became contagious

4. Never, Ever Cede Control – ไม่มีทางยกให้(คนอื่น)ควบคุม

อย่าให้ควบคุมไม่ได้ ไม่ว่าคุณจะทำงานกับนักเตะแนวหน้ามืออาชีพ 30 คน ที่รวยเป็นมหาเศรษฐีแล้ว และถ้ามีใครต้องการจะท้าทายถึง Authority และการควบคุม ของ Furguson เขาจะจัดการกับคนเหล่านั้น
สิ่งนี้เป็นสิ่งที่สำคัญในการรักษาไว้ซึ่งมาตรฐานที่สูง
“You can’t ever lose control—not when you are dealing with 30 top professionals who are all millionaires,” Ferguson told us. “And if any players want to take me on, to challenge my authority and control, I deal with them.”

5. Match the Message to the Moment – สื่อสารอย่างมีศิลปะ

เมื่อเวลาที่ต้องบอกนักเตะคนที่คาดหวังว่าจะได้ลงสนามแต่ดันไม่ได้ลงเป็นตัว จริง Ferguson จะมีวิธีละเอียดอ่อนในการบอกกล่าวนักเตะคนนั้นถึงเหตุผล และให้ความมั่นใจแก่เขา และบอกว่ามันเป็นเพียงเพราะแทคติคทีมที่วางไว้ และมีเกมส์ใหญ่รออยู่
When he had to tell a player who might have been expecting to start that he wouldn’t be starting, he would approach it as a delicate assignment. “I do it privately,” he told us. “It’s not easy. I say, ‘Look, I might be making a mistak’ —I always say that—‘but I think this is the best team for today.’ I try to give them a bit of confidence, telling them that it is only tactical and that bigger games are coming up.”


ร่วมโหวตคะแนนให้เรื่องนี้ คะแนน 0.0 จาก 5 ผู้อ่าน 0 คน
HTML FOR SHARE ::
BB CODE FOR SHARE: